MPC implication Strategyะ ในเชิงกลยุทธ์ สําหรับพอร์ตที่ทยอยสะสมหุ้นมาก่อนหน้านี้ที่บริเวณ ดัชนีต่ำกว่า 1550 จุดลงมา มองว่าสามารถถือครองหุ้นไว้ก่อนได้ โดยเน้นไปที่ Top pick 15 ตัวของเราประจําเดือนนี้ ได้แก่ PM, SUN, XO, NC, WICE, ICHI, SAPPE, SFLEX, SFT, UTP, BDMS, CHG, IP, MEGA, PTTEP MPC: สาระสําคัญจากการประชุมกนง.เมื่อวานนี้ ได้แก่
1) กนง.ตัดสินใจปรับลดประมาณการ GDP ระหว่างรอบในครั้งนี้เลย โดยนั้น GDP ปีนี้ลงเหลือ 0.7%% จากเดิมที่ 1.8% และปรับลดตัวเลขปีหน้าลงเล็กน้อยเหลือ 3.1% จากเดิม 3.9%
2) การหัน GDP ปีนี้ลงมีสาเหตุหลักมาจากการการบริโภคภาคเอกชนที่อ่อนแอกว่าคาดเดิม ส่วนการปรับลด GDP ปีหน้าลงเกิดจากการนั้นสมมติฐานนักท่องเที่ยวต่างชาติเป็นสําคัญ
3) ด้วยเหตุนี้ หากมองผลกระทบในแง่ของประมาณการ EPS ตลาดหุ้นไทยนั้น การปรับลดสมมติฐานในรอบนี้จะส่งผลกระทบกับ EPs ในปีนี้ มากกว่าปีหน้า จาก Magnitude การปรับลดที่มากกว่า และ Sector อุปสงค์ ในประเทศที่มีน้ําหนักใน SET Index มากกว่า Sector ที่เกี่ยวข้องกับภาคการท่องเที่ยว
4) ด้วยเหตุนี้ เราจึงไม่กังวลใจกับเหตุการณ์ดังกล่าวแต่อย่างใด เพราะอย่างที่เรากล่าวไปแล้ววานนี้ว่า SET Index ที่ระดับปัจจุบันนั้นเป็นการปรับตัวที่องกับ Valuation และฐานของกําไรปีหน้าไปหมดแล้ว รวมถึงเป้าหมาย SET ของเราที่ 1600 จุดที่ถึงกับประมาณการ EPS หน้าที่ 95.5 บาทด้วยเช่นเดียวกัน
5) มองกลุ่มที่เสียประโยชน์และน่ากังวลมากที่สุดจากการปรับประมาณการครั้งนี้ได้แก่กลุ่มท่องเที่ยว (Tourism) ไม่ว่าจะเป็น สนามบิน (AOT (BK:AOT)) สายการบิน (AAV, BA) หรือโรงแรมก็ตาม (CENTEL, ERW, MINT) เนื่องจากการฟื้นตัวที่มีแนวโน้มล่าช้าออกไปเป็นอย่างมาก โดยใน กรณีฐาน ธปท.มองปีนี้นักท่องเที่ยวต่างชาติจะเหลือเพียงแค่ 150,000 คน เท่านั้น ต่ํากว่าประมาณการเดิมที่ 700,000 คนเป็นอย่างมาก ส่วนปีหน้าใน กรณีฐานก็มองเพียง 6 ล้านคน ต่ํากว่าประมาณการเต็มที่ 10 ล้านคนเช่นกัน
แนะน่าหลีกเลี่ยงการลงทุนในหุ้นกลุ่มนี้ต่อไป
6) ความเสี่ยงที่น่าจับตาในช่วงถัดไปได้แก่ภาคการผลิตของไทยที่เริ่มเผชิญกับความเสี่ยงของ Covid-19 มากขึ้น โดยธปท.เริ่มเห็นสัญญาณที่ กระบวนการผลิตรวมถึงตลาดแรงงานได้รับผลกระทบจนส่งผลต่อกาลังการ ผลิตให้มีการปรับตัวลดลง หากทวีความรุนแรงมากขึ้น ภาคการส่งออกของ ไทยซึ่งถือเป็นความหวังเดียวของเศรษฐกิจไทย ณ ขณะนี้อาจมีความเสี่ยง เพิ่มขึ้น จนนํามาสู่ Downside risk ของ GDP ปีนี้ให้ลงไปเติบโตแถว 0%หรือติดลบได้
7) อีกหนึ่งปัจจัยที่มองข้ามไม่ได้จากผลการประชุมก็คือกรรมการ 2 ท่านที่เห็น
ควรให้ลดดอกเบี้ยลงในครั้งนี้ สะท้อนถึงความเป็นไปได้ในการลดดอกเบี้ยลง ในอนาคตมากขึ้น แม้ว่าสุดท้ายแล้วธปท.อาจจะไม่ได้ลดดอกเบี้ยลงจริง แต่ผลกระทบในระยะสั้นได้เกิดขึ้นแล้วในตลาดพันธบัตร โดยทันทีที่การ ประชุมเสร็จสิ้นวานนี้ อัตรา Swap rate และ Bond yield ระยะสั้น กระโดดลงอย่างมีนัยสําคัญ
แนวรับ 1,527 แนวต้าน 1,551 บทวิเคราะห์วันนี้ • ToP (ถือ ราคาเป้าหมาย 53 บาท) คาดกําไร 2.6 พันล้านบาท ลดลง QoQ จาก stock gain น้อยลง
8) มอง Implication จากปัจจัยดังกล่าวต่อตลาดหุ้นได้แก่ Sentiment เชิงบวกใน
ระยะสันที่จะเกิดขึ้นกับกลุ่มที่ได้ประโยชน์จากอัตราดอกเบี้ยลดลง เช่น กลุ่ม ไฟแนนซ์ จากความเป็นไปได้ที่ต้นทุนทางการเงินจะปรับตัวลดลงในอนาคต โดย หากเรียงจากกลุ่มที่ได้ประโยชน์สูงสุดไปน้อยสุดในกลุ่ม FIN จะได้แก่ 1. กลุ่ม Leasing (ASK, MICRO, S11, THANI, TK) II. กลุ่ม Consumer finance (AMANAH, MTC, SAWAD, TIDLOR) 3. กลุ่มสินเชื่อบัตรเครดิต (AEONTS, KTC) และ 4. กลุ่มบริหารหนี้ (BAM, CHAYO, JMT)
9) นอกจากนั้น หากเกิดการลดดอกเบี้ยจริง อาจทาให้ปรากฏการณ์ PE Expansion มีโอกาสกลับมาอีกครั้ง ซึ่งจากผลการศึกษาของเราตั้งแต่ปี 2007 เป็นต้นมา พบว่า ทุกๆดอกเบี้ยที่ลดลง 0.25% จะน่ามาซึ่งการขยายตัวของ Forward PE ได้ราว 2.9% นั่นหมายความว่า เป้าหมาย Forward PE ของเราถูกขยับขึ้นจาก 16.8x เป็น 17.3x เมื่อคุณกับประมาณการ EPS มีหน้าที่ 95.5 บาท จะได้ระดับเป้าหมายของ SET ที่ขยับขึ้นจาก 1600 จุดเป็น 1650 จุด หากสุดท้ายแล้วธปท.มีการปรับลดดอกเบี้ยลงจริง
10) จากส่วนต่างดอกเบี้ยของเราที่มีโอกาสปรับแคบลงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นไปอีกรวมถึงดุลบัญชีเดินสะพัดที่อ่อนแอมากขึ้นจากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวช้ามาก ขึ้น มองเงินบาทจะทรงตัวอ่อนค่าต่อไป และน่าจะเป็นอานิสงส์กับหุ้นกลุ่ม ส่งออกต่อไปเช่นกัน โดย Top pick ของเราประจําเดือนนี้ยังคงได้แก่ PM, SUN, XO
บทวิเคราะห์นี้จัดทำขึ้นและเผยแพร่โดยทีมนักวิเคราะห์ของ Trinity Securities