รับส่วนลด 40%
ใหม่! 💥 รับ ProPicks เพื่อดูกลยุทธ์ที่ให้ผลตอบแทน ชนะดัชนี S&P 500 มากกว่า 1,183% รับส่วนลด 40%

บทวิเคราะห์ราคาทองคำ ภาคเช้า วานนี้ปรับตัวลงจากแรงกดดันของดอลลาร์

เผยแพร่ 03/08/2564 09:39
อัพเดท 09/07/2566 17:32

สรุปราคาทองคําวานนี้ปิดปรับตัวลดลง 2.45 ติขลลาร์ต่อออนซ์ โดยระหว่างวันราคาทองคําได้รับแรงกดดันจากการแข็งค่าของสกุลเงินดอลลาร์ ส่งผลให้ราคาทองคําร่วงลงทดสอบระดับ ต่ําสุดบริเวณ 1,805.70 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ก่อนที่ราคาทองคําจะฟื้นตัวขึ้นแข็งแกร่ง หลังจากสถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) เปิดเผยว่า ดัชนีภาคการผลิตของสหรัฐปรับตัวลงสู่ ระดับ 59.5 ในเดือนก.ค. ซึ่งเป็นระดับต่ําสุดนับตั้งแต่เดือนม.ค. และต่ํากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ระดับ 60.9 ซึ่งสะท้อนว่าภาคการผลิตของสหรัฐเติบโตในอัตราที่ชะลอตัวลงเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน สถานการณ์ดังกล่าวกดดันอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอายุ 10 ปีให้ปรับตัวลดลงแตะระดับต่ําสุดที่ 1.147% ซึ่งเป็นระดับต่ําสุดนับตั้งแต่ 20 ก.ค. จนเป็นปัจจัยหนุนราคา ทองคําในฐานะสินทรัพย์ที่ไม่ได้ให้ผลตอบแทนในรูปแบบตอกเบี้ย นั่นทําให้ราคาทองคําฟื้นตัวขึ้นจากระดับต่ําสุดทดสอบระดับสูงสุดบริเวณ 1,819.48 ตอลลาร์ต่อออนซ์ อย่างไรก็ดี ราคา ทองคําไม่สามารถรักษาช่วงบวกไว้ได้ โดยได้รับแรงกดดันจากแรงขายทํากําไร และความเห็นในเชิง Hawkish ของนายคริสโตเฟอร์ วอลเลอร์ หนึ่งในคณะผู้ว่าการธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ที่ กล่าวกับ CNBC เมื่อคืนนี้ว่า เฟดอาจ “ประกาศ" ในเดือนก.ย. ว่าจะเริ่มต้นลดการเข้าซื้อสินทรัพย์ตามมาตรการ QE ในเดือนต.ศ. หากการจ้างงานของสหรัฐในช่วง 2 เดือนต่อจากนี้มีการจ้าง งานแต่ละครั้งเพิ่มขึ้น 800,000-1 ล้านตําแหน่ง ถ้อยแถลงดังกล่าวหนุนให้บอนด์ยีลด์ฟื้นตัวขึ้นจนกดดันราคาทองคําให้ร่วงลงในช่วงปลายตลาด ด้านกองทุน SPDR ถือครองทองคําลตลิง - 1.75 ตัน สําหรับวันนี้ติดตามการเปิดเผยยอดสั่งซื้อภาคโรงงานของสหรัฐ

ราคากลับมาเคลื่อนไหวในกรอบ หากราคาสามารถยืนแนวรับบริเวณ 1,803 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ได้ แข็งแกร่ง ยังคงมีโอกาสราคาทองคำขึ้นไปทดสอบแนวต้านในโซน 1,828-1,833 ดอลลาร์ต่อ ออนซ์ หากผ่านได้จะขึ้นทดสอบแนวต้านถัดไปโซน 1,845 ดอลลาร์ต่อออนซ์ แต่หากผ่านแนวต้าน แรกไม่ได้ อาจเกิดแรงขายกดดันมาให้ราคาอ่อนตัวลงเข้าใกล้แนวรับอีกครั้ง

คําแนะนํา ลงทุนระยะสั้น ซื้อขายทํากําไรจากการแกว่ง ตัว หากราคาสามารถยืนเหนือบริเวณ 1,803 ดอลลาร์ต่อ ออนซ์ แนะนําเข้าซื้อ เพื่อทํากําไรระยะสั้น แล้วทยอยขาย ทํากําไรหากราคาไม่ผ่านบริเวณแนวต้าน 1,828-1,833 ดอลลาร์ต่อออนซ์

ดูกราฟราคาทองคำ SPOT XAU/USD

https://th.investing.com/currencies/xau-usd

กระทู้พูดคุยเกี่ยวกับราคาทองคำ SPOT

https://th.investing.com/currencies/xau-usd-commentary

บทความนี้จัดทำขึ้นโดย YLG Bullion International

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ 02-687-9888 กด 1 หรือเว็บไซต์ ylgbullion.co.th

ความคิดเห็นล่าสุด

การเปิดเผยความเสี่ยง: การซื้อขายตราสารทางการเงินและ/หรือเงินดิจิตอลจะมีความเสี่ยงสูงที่รวมถึงความเสี่ยงต่อการสูญเสียจำนวนเงินลงทุนของคุณบางส่วนหรือทั้งหมดและอาจไม่เหมาะสมกับนักลงทุนทั้งหมด ราคาของเงินดิจิตอลแปรปรวนอย่างมากและอาจได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่าง ๆ เช่น เหตุการณ์ทางการเงิน กฎหมายกำกับดูแล หรือ เหตุการณ์ทางการเมือง การซื้อขายด้วยมาร์จินทำให้ความเสี่ยงทางการเงินเพิ่มขึ้น
ก่อนการตัดสินใจซื้อขายตราสารทางการเงินหรือเงินดิจิตอล คุณควรตระหนักดีถึงความเสี่ยงและต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายในตลาดการเงิน ควรพิจารณาศึกษาอย่างรอบคอบในด้านวัตถุประสงค์การลงทุน ระดับประสบการณ์ และ การยอมรับความเสี่ยงและแสวงหาคำแนะนำทางวิชาชีพหากจำเป็น
Fusion Media อยากเตือนความจำคุณว่าข้อมูลที่มีในเว็บไซต์นี้ไม่ใช่แบบเรียลไทม์หรือเที่ยงตรงแม่นยำเสมอไป ข้อมูลและราคาที่แสดงไว้บนเว็บไซต์ไม่ใช่ข้อมูลที่ได้รับจากตลาดหรือตลาดหลักทรัพย์เสมอไปแต่อาจได้รับจากผู้ดูแลสภาพคล่องและดังนั้นราคาจึงอาจไม่เที่ยงตรงแม่นยำและอาจแตกต่างจากราคาจริงในตลาดซึ่งหมายความว่าราคานี้เป็นเพียงราคาชี้นำและไม่เหมาะสมสำหรับวัตถุประสงค์เพื่อการซื้อขาย Fusion Media และผู้ให้ข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้จะไม่รับผิดชอบใด ๆ สำหรับความเสียหายหรือการสูญเสียที่เป็นผลมาจากการซื้อขายของคุณหรือการพึ่งพาของคุณในข้อมูลที่มีในเว็บไซต์นี้
ห้ามใช้ จัดเก็บ ทำซ้ำ แสดงผล ดัดแปลง ส่งผ่าน หรือ แจกจ่ายข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้โดยไม่ได้รับการอนุญาตล่วงหน้าอย่างชัดแจ้งแบบเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Fusion Media และ/หรือจากผู้ให้ข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลขอสงวนสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและ/หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ให้ข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้
Fusion Media อาจได้รับผลตอบแทนจากผู้โฆษณาที่ปรากฎบนเว็บไซต์โดยอิงจากปฏิสัมพันธ์ของคุณที่มีกับโฆษณาหรือผู้โฆษณา
เวอร์ชั่นภาษาอังกฤษของเอกสารฉบับนี้เป็นเวอร์ชั่นหลักซึ่งจะเป็นเวอร์ชั่นที่เหนือกว่าเมื่อใดก็ตามที่มีข้อขัดแย้งไม่สอดคล้องตรงกันระหว่างเอกสารเวอร์ชั่นภาษาอังกฤษกับเอกสารเวอร์ชั่นภาษาไทย