ข่าวเด่น
เสนอซื้อเสนอขาย
ประเภทตราสารทั้งหมด

โปรดลองค้นหาใหม่อีกครั้ง

Investing Pro 0
โอกาสสุดท้าย: ปลดล็อกข้อมูลพรีเมียมด้วย รับส่วนลด 60%

ธปท. หวั่นโควิด-19 อาจทำ GDP ไทยหาย 0.8 - 2%

เผยแพร่ Jul 22, 2021 15:28
บันทึกแล้ว ดู รายการที่ได้บันทึก.
ได้บันทึกบทความนี้ไว้เรียบร้อยแล้วใน รายการที่ได้บันทึก ของคุณ
 
© Reuters
 
BBL
+0.34%
เพิ่ม/ลบจากพอร์ตลงทุน
เพิ่มเข้าไปในวอทช์ลิสต์
เพิ่มสถานะ

ได้เพิ่มสถานะเข้าไปเสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับ:

กรุณาระบุชื่อของพอร์ตถือครองของคุณ
 
BAY
0.00%
เพิ่ม/ลบจากพอร์ตลงทุน
เพิ่มเข้าไปในวอทช์ลิสต์
เพิ่มสถานะ

ได้เพิ่มสถานะเข้าไปเสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับ:

กรุณาระบุชื่อของพอร์ตถือครองของคุณ
 
CIMBT
0.00%
เพิ่ม/ลบจากพอร์ตลงทุน
เพิ่มเข้าไปในวอทช์ลิสต์
เพิ่มสถานะ

ได้เพิ่มสถานะเข้าไปเสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับ:

กรุณาระบุชื่อของพอร์ตถือครองของคุณ
 
KBANK
-0.39%
เพิ่ม/ลบจากพอร์ตลงทุน
เพิ่มเข้าไปในวอทช์ลิสต์
เพิ่มสถานะ

ได้เพิ่มสถานะเข้าไปเสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับ:

กรุณาระบุชื่อของพอร์ตถือครองของคุณ
 
KKP
+0.52%
เพิ่ม/ลบจากพอร์ตลงทุน
เพิ่มเข้าไปในวอทช์ลิสต์
เพิ่มสถานะ

ได้เพิ่มสถานะเข้าไปเสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับ:

กรุณาระบุชื่อของพอร์ตถือครองของคุณ
 
KTB
-1.09%
เพิ่ม/ลบจากพอร์ตลงทุน
เพิ่มเข้าไปในวอทช์ลิสต์
เพิ่มสถานะ

ได้เพิ่มสถานะเข้าไปเสร็จเรียบร้อยแล้วเข้ากับ:

กรุณาระบุชื่อของพอร์ตถือครองของคุณ
 

โดย วณิชชา สุมานัส

Investing.com – ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) วันนี้ แสดงความกังวลว่า สถานการณ์โควิด-19 ที่รุนแรงขึ้น อาจทำตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของประเทศหายไป 0.8 - 2% โดยหวังว่า รัฐบาลจะมีมาตรการเพิ่มเติมออกมาช่วยพยุง และกระตุ้นให้รัฐบาลเร่งหาวัคซีนที่มีประสิทธิภาพให้แก่ประชาชน แทนมาตราการเข้มงวดที่ออกมาในขณะนี้

นางสาวชญาวดี ชัยอนันต์ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวในช่วง “Media Briefing ส่องเศรษฐกิจไทยในวิกฤติโควิด” ว่า สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ยังไม่สามารถที่จะคาดการณ์อะไรไม่ได้นัก และไวรัสโควิด สายพันธุ์เดลต้ากลายเป็นสายพันธุ์หลักในไทย ทำให้การระบาดมีแนวโน้มรุนแรงและยื้ดเยื้อกว่าที่คาดไว้และจะบริหารจัดการได้ยากขึ้น ทำให้ส่งผลกระทบต่อการควบคุมการระบาดในปัจจุบัน และเกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ทำให้หดตัวลง

นอกจากนี้ นางสาวชญาวดี ยังชี้ให้เห็นสถานการณ์ที่ดีขึ้นและแย่ลง จากการรับมือสถานการณ์การระบาดโควิด ซึ่งก็คือ หากภาครัฐมีมาตรการเข้มข้นจนหยุดการระบาดได้ 40% และกิจกรรมของเศรษฐกิจสามารถกลับมาได้ในเดือนสิงหาคม เศรษฐกิจจะได้รับผลกระทบ 0.8% แต่ในกรณีที่แย่ที่สุด รัฐมีมาตรการเข้มงวด แต่ประสิทธิภาพในการดูแลการแพร่เชื้อไม่ได้มากเพียง 20% จะทำให้โควิดกลับมาระบาดได้อีก และการล็อกดาวน์จะยาวนานขึ้น และกระทบความเชื่อมันของประชาชนมากขึ้น และกระทบเศรษฐกิจถึง 2%

ธปท. ยังคาดว่า เศรษฐกิจไทยปี 64 จะขยายตัว 1.8% อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจไทยยังมีความเสี่ยง และผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ยังจะยืดเยื้อและรุนเรืองกว่าที่คาด อย่างไรก็ตาม นโยบายการคลังจะยังเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในช่วงวิกฤตินี้ เพราะการใช้จ่ายของภาครัฐจะยังคงเป็นตัวขับเคลื่อนและประคับประคองเศรษฐกิจในปัจจุบัน สำหรับที่ผ่านมา มีมาตราการทางการเงินช่วยเสริมสภาพคล่องและบรรเทาภาระหนี้สินชั่วคราว ซึ่งอาจจะยังได้ผลจำกัดเท่านั้น และยังไม่สามารถครอบคลุมได้ทุกกลุ่ม

นางสาวชญาวดี ชี้ว่า เศรษฐกิจในปี 2565 ยังต้องติดตามเรื่องการระบาดของโควิด-19 และการเปิดประเทศทั้งในและต่างประเทศ ความมั่นใจและจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในไทย รวมทั้งนโยบายการคลังและวงเงินกระตุ้นเศรษฐกิจว่าจะยังยืดเยื้อแค่ไหน ทั้งนี้ ให้ติดตามความเปราะบางของธุรกิจต่าง ๆ และหนี้ครัวเรือนเป็นหลัก ซึ่งอาจเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้น้อยลง

สำหรับปีนี้ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ 10 แห่ง ทำกำไรได้รวม 51,261 ล้านบาท จากการประกาศผลประกอบการไตรมาส 2 ปี 2564 เพิ่มขึ้น 9.93% เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 1 ในปีเดียวกัน และเพิ่มขึ้น 69.15% เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน โดย ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจำกัด (มหาชน) (BAY) มีกำไรสูงสุด หลังบุ๊คกำไรขายหุ้น เงินติดล้อ (TIDLOR)

อย่างไรก็ตาม มี 5 ธนาคาร ประกอบด้วย ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (CIMBT), ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (KBANK) , ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจำกัด (มหาชน) (BAY), บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำกัด(มหาชน) (TISCO) และ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน) (KKP) ที่มียอดคงค้างของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ (Gross NPLs) เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า สำหรับ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) (BBL) , ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) (KTB), ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) หรือ (TTB) และ แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (LHFG) มี Gross NPLs ที่ลดลง เมื่อเทียบจากไตรมาสก่อนหน้า

ด้าน ธปท. เตรียมออกประกาศเกณฑ์ดูแลค่าธรรมเนียมแบงก์กว่า 300 รายการ เริ่มไตรมาสปี 2564 หวังสะท้อนต้นทุน-รายได้จริง

ธปท. หวั่นโควิด-19 อาจทำ GDP ไทยหาย 0.8 - 2%
 

บทความที่เกี่ยวข้อง

แสดงความคิดเห็น

เกณฑ์การแสดงความคิดเห็น

เราสนับสนุนให้ท่านได้ใช้ช่องทางการแสดงความคิดเห็นนี้เพื่อสื่อสารสัมพันธ์กับผู้ใช้เว็บไซต์อื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนในทัศนคติและสอบถามข้อสงสัยกับผู้เขียนและสอบถามซึ่งกันและกัน อย่างไรก็ตามเพื่อให้การสื่อสารสัมพันธ์นี้เป็นไปอย่างเรียบร้อยที่เราทุกคนต้องการและคาดหวังดังนี้กรุณาพึงระลึกในข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้:  

  • มีเนื้อหาสาระ การสนทนาควรมีเนื้อหาสาระที่น่าสนใจ
  • เอาใจใส่และตรงประเด็น กรุณาโพสต์ในเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องที่กำลังอภิปราย
  • ให้เกียรติ แม้ในการแสดงความคิดเห็นเชิงลบก็ตามควรต้องกระทำในลักษณะสร้างสรรค์และสุภาพ
  • ใช้สไตล์การเขียนมาตรฐานทั่วไป ที่รวมถึงการใช้เครื่องหมายวรรคตอนและตัวอักษรใหญ่เล็ก
  • หมายเหตุ: ข้อความและลิงค์ประเภทสแปมและ/หรือเพื่อการส่งเสริมการขายที่ปรากฎในการแสดงความคิดเห็นจะถูกลบทิ้ง
  • หลีกเลี่ยงการลบหลู่ การให้ร้ายผู้อื่น และการกล่าวโจมตีโดยส่วนตัว ที่กระทำต่อผู้เขียนเนื้อหาในเว็บหรือต่อผู้ใช้เว็บไซต์คนอื่น
  • เฉพาะภาษาไทยเท่านั้น สามารถแสดงความคิดเห็นเป็นภาษาไทยเท่านั้น

ผู้ที่โพสต์เนื้อหาข้อความสแปมหรือใช้เว็บไซต์นี้ไปในทางผิดจะถูกลบรายชื่อทิ้งจากเว็บไซต์และถูกปิดกั้นการลงทะเบียนเป็นสมาชิกในอนาคตซึ่งเป็นไปตามดุลพินิจของเว็บไซต์ Investing.com

เขียนบรรยายความคิดของคุณได้ที่นี่
 
คุณแน่ใจว่าต้องการลบกราฟนี้?
 
โพสต์
และโพสต์บน :
 
แทนที่กราฟที่แนบมาด้วยกราฟใหม่ ?
1000
ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นของคุณถูกระงับในขณะนี้เนื่องจากมีรายงานเชิงลบจากผู้ใช้เว็บไซต์ ผู้ดูแลเพจของเราจะทบทวนสถานะของคุณ
กรุณารอสักครู่ก่อนที่จะแสดงความคิดเห็นอีกครั้ง
ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ ความคิดเห็นของคุณทั้งหมดจะอยู่ระหว่างการอนุมัติจากผู้ดูแลระบบ ดังนั้นอาจใช้เวลาระยะหนึ่งก่อนที่จะปรากฎบนเว็บไซต์ของเรา
 
คุณแน่ใจว่าต้องการลบกราฟนี้?
 
โพสต์
 
แทนที่กราฟที่แนบมาด้วยกราฟใหม่ ?
1000
ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นของคุณถูกระงับในขณะนี้เนื่องจากมีรายงานเชิงลบจากผู้ใช้เว็บไซต์ ผู้ดูแลเพจของเราจะทบทวนสถานะของคุณ
กรุณารอสักครู่ก่อนที่จะแสดงความคิดเห็นอีกครั้ง
เพิ่มกราฟไว้ในคอมเมนต์
ยืนยันการบล็อก

คุณแน่ใจหรือว่าคุณต้องการบล็อก %USER_NAME%?

เมื่อทำการบล็อก คุณและ %USER_NAME% จะไม่สามารถเห็นโพสต์ของแต่ละฝ่ายบนเว็บไซต์ Investing.com ได้

%USER_NAME% ได้ถูกเพิ่มเข้าไปใน Block List ของคุณแล้ว

เนื่องจากคุณเพิ่งยกเลิกการบล็อกบุคคลนี้ คุณต้องรอ 48 ชั่วโมงก่อนการบล็อกอีกครั้ง

รายงานความคิดเห็นนี้

ฉันรู้สึกว่าความคิดเห็นนี้

ความคิดเห็นได้รับการติดธงเตือน

ขอบคุณ!

รายงานของคุณได้ถูกส่งไปยังผู้ดูแลบอร์ดของเราเพื่อการทบทวน
สมัครสมาชิกด้วย Google
หรือ
สมัครสมาชิกด้วยอีเมล